ᨪᩨ᩵
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาเขิน[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *zɤːᴮ (“ตรง”); ร่วมเชื้อสายกับร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ซื่อ, ภาษาคำเมือง ᨪᩨ᩵ (ซื่), ภาษาอีสาน ซื่อ หรือ ซือ, ภาษาลาว ຊື່ (ซื่), ภาษาไทลื้อ ᦌᦹᧈ (ซื่), ภาษาไทดำ ꪏꪳ꪿ (ซึ่), ภาษาไทใหญ่ သိုဝ်ႈ (สึ้ว), ภาษาไทใต้คง ᥔᥪ (สื), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜤𑜈𑜫 (สึว์), ภาษาจ้วง soh, ภาษาจ้วงแบบหนง swh
การออกเสียง[แก้ไข]
- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sɯː˨˨/
- คำพ้องเสียง: ᩈᩨ᩵ (สื่) (ในถิ่นที่มีการออกเสียงอักษรคู่เหมือนกันเมื่อมีไม้หยัก)
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
ᨪᩨ᩵ (ซื่) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨪᩨ᩵)
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
- (ถอดอักษรและถ่ายเสียง) ซื่อ
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *zɤːᴮ (“ตรง”); ร่วมเชื้อสายกับร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ซื่อ, ภาษาเขิน ᨪᩨ᩵ (ซื่), ภาษาอีสาน ซื่อ หรือ ซือ, ภาษาลาว ຊື່ (ซื่), ภาษาไทลื้อ ᦌᦹᧈ (ซื่), ภาษาไทดำ ꪏꪳ꪿ (ซึ่), ภาษาไทใหญ่ သိုဝ်ႈ (สึ้ว), ภาษาไทใต้คง ᥔᥪ (สื), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜤𑜈𑜫 (สึว์), ภาษาจ้วง soh, ภาษาจ้วงแบบหนง swh
การออกเสียง[แก้ไข]
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sɯː˦˨/
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาเขินที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาเขินที่มีคำพ้องเสียง
- คำหลักภาษาเขิน
- คำคุณศัพท์ภาษาเขิน
- ศัพท์ภาษาเขินที่มีอักษรคู่และไม้เอก
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียง IPA
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม