ᩁ᩠ᨿᨠ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเขิน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *riəkᴰᴸ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เรียก, ภาษาคำเมือง ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก), ภาษาอีสาน เฮียก, ภาษาลาว ຮຽກ (ฮย̂ก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦣᧅ (เฮก), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၵ်ႈ (เห้ก), ภาษาพ่าเก ꩭိက် (หิก์), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜀𑜫 (ริก์), ภาษาแสก เหร้ก

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩁ᩠ᨿᨠ)

  1. (สกรรม) เรียก

คำพ้องความ[แก้ไข]

เรียก

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *riəkᴰᴸ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เรียก, ภาษาเขิน ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก), ภาษาอีสาน เฮียก, ภาษาลาว ຮຽກ (ฮย̂ก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦣᧅ (เฮก), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၵ်ႈ (เห้ก), ภาษาพ่าเก ꩭိက် (หิก์), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜀𑜫 (ริก์), ภาษาแสก เหร้ก

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩁ᩠ᨿᨠ)

  1. (สกรรม) เรียก

คำพ้องความ[แก้ไข]

เรียก