ᩃᩣ᩠ᨠ
ภาษาเขิน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *C̬.laːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ลาก, อีสาน ลาก, ลาว ລາກ (ลาก), คำเมือง ᩃᩣ᩠ᨠ (ลาก), ไทลื้อ ᦟᦱᧅ (ลาก), ไทดำ ꪩꪱꪀ (ลาก), ไทขาว ꪩꪱ, ไทใหญ่ လၢၵ်ႈ (ล้าก), ไทใต้คง ᥘᥣᥐ (ลาก), อาหม 𑜎𑜀𑜫 (ลก์), จ้วง rag, จ้วงแบบหนง laeg, จ้วงแบบจั่วเจียง lag
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /laːk˨˨/
คำกริยา
[แก้ไข]ᩃᩣ᩠ᨠ (ลาก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩃᩣ᩠ᨠ)
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ᨧᩢ᩠ᨶ (จัน)
- ᨲ᩵ᩣ᩠ᨦ (ต่าง)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ᨩᩣ᩠ᨿᨪᩮᨩᩮ᩠ᨾ. (n.d.). ᩋᨽᩥᨵᩤᨶᩈᩢ᩠ᨷᩅᩰᩉᩣ᩠ᩁᨸᩖᩯᨽᩣᩈᩣᨡᩨ᩠ᨶ.
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (ถอดอักษรและถอดเสียง) ลาก
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /laːk˦˨/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *C̬.laːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ลาก, อีสาน ลาก, ลาว ລາກ (ลาก), เขิน ᩃᩣ᩠ᨠ (ลาก), ไทลื้อ ᦟᦱᧅ (ลาก), ไทดำ ꪩꪱꪀ (ลาก), ไทขาว ꪩꪱ, ไทใหญ่ လၢၵ်ႈ (ล้าก), ไทใต้คง ᥘᥣᥐ (ลาก), อาหม 𑜎𑜀𑜫 (ลก์), จ้วง rag, จ้วงแบบหนง laeg, จ้วงแบบจั่วเจียง lag
คำกริยา
[แก้ไข]ᩃᩣ᩠ᨠ (ลาก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩃᩣ᩠ᨠ)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับไทย มลาก; อาจร่วมเชื้อสายกับไทใหญ่ လၢၵ်ႈ (ล้าก, “สิบล้าน”) หรือ လၢၵ်ႇ (ล่าก, “สิบล้าน”), ไทใต้คง ᥘᥣᥐ (ลาก, “สิบล้าน”); ร่วมรากกับ ᨾᩣ᩠ᨠ (มาก)
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ᩃᩣ᩠ᨠ (ลาก) (คำอาการนาม ᨣᩤᩴᩃᩣ᩠ᨠ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩃᩣ᩠ᨠ)
อ้างอิง
[แก้ไข]- พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
- ศัพท์ภาษาเขินที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเขิน
- คำกริยาภาษาเขิน
- เขิน entries with incorrect language header
- คำสกรรมกริยาภาษาเขิน
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม
- คำเมือง entries with incorrect language header
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่ร่วมราก
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมือง
- คำคุณศัพท์ภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม