ᩈᩯ᩠᩵ᨦ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเขิน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແສ່ງ (แส่ง), ภาษาอีสาน แส่ง, ภาษาไทลื้อ ᦶᦉᧂᧈ (แส่ง), ภาษาไทใหญ่ သႅင်ႇ (แส่ง)

คำนาม[แก้ไข]

ᩈᩯ᩠᩵ᨦ (แส่ง)

  1. ฉาบ

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แฉ่ง, ภาษาลาว ແສ່ງ (แส่ง), ภาษาอีสาน แส่ง, ภาษาเขิน ᩈᩯ᩠᩵ᨦ (แส่ง), ภาษาไทลื้อ ᦶᦉᧂᧈ (แส่ง), ภาษาไทใหญ่ သႅင်ႇ (แส่ง), ภาษาไทดำ ꪵꪎ꪿ꪉ (แส่ง); เทียบภาษามอญ ဆာၚ် (ฉาง์)

คำนาม[แก้ไข]

ᩈᩯ᩠᩵ᨦ (แส่ง)

  1. (โบราณ) ฉาบ
คำพ้องความ[แก้ไข]
ฉาบ

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย แฉ่ง

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

ᩈᩯ᩠᩵ᨦ (แส่ง) (คำอาการนาม ᨣᩤᩴᩈᩯ᩠᩵ᨦ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩈᩯ᩠᩵ᨦ)

  1. แฉ่ง, เบนออก, เอนออก, ขยายออก

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ภาษาไทลื้อ[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ᩈᩯ᩠᩵ᨦ (แส่ง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᦶᦉᧂᧈ (แส่ง)