ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาเขิน[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmaːjꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ม่าย หรือ หม้าย, ภาษาอีสาน หม้าย, ภาษาลาว ໝ້າຍ (หม้าย), ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (หม้าย), ภาษาไทลื้อ ᦖᦻᧉ (หฺม้าย), ภาษาไทดำ ꪢ꫁ꪱꪥ (หฺม้าย), ภาษาไทขาว ꪢꪱꪥꫂ, ภาษาไทใหญ่ မၢႆႈ (ม้าย), ภาษาไทใต้คง ᥛᥣᥭᥲ (ม้าย), ภาษาอาหม 𑜉𑜩 (มย์)
การออกเสียง[แก้ไข]
- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /maːj˧˧ʔ/
คำนาม[แก้ไข]
ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (หม้าย)
คำประสม[แก้ไข]
- ᨻᩳ᩵ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (พอ่หม้าย)
- ᨾᩯ᩵ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (แม่หม้าย)
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
- ᩁ᩶ᩣ᩠ᨦ (ร้าง)
อ้างอิง[แก้ไข]
- ᨩᩣ᩠ᨿᨪᩮᨩᩮ᩠ᨾ. (n.d.). ᩋᨽᩥᨵᩤᨶᩈᩢ᩠ᨷᩅᩰᩉᩣ᩠ᩁᨸᩖᩯᨽᩣᩈᩣᨡᩨ᩠ᨶ.
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmaːjꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ม่าย หรือ หม้าย, ภาษาอีสาน หม้าย, ภาษาลาว ໝ້າຍ (หม้าย), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (หม้าย), ภาษาไทลื้อ ᦖᦻᧉ (หฺม้าย), ภาษาไทดำ ꪢ꫁ꪱꪥ (หฺม้าย), ภาษาไทขาว ꪢꪱꪥꫂ, ภาษาไทใหญ่ မၢႆႈ (ม้าย), ภาษาไทใต้คง ᥛᥣᥭᥲ (ม้าย), ภาษาอาหม 𑜉𑜩 (มย์)
การออกเสียง[แก้ไข]
- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /maːj˦˦ʔ/
คำนาม[แก้ไข]
ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (หม้าย)
คำประสม[แก้ไข]
- ᨻᩬᩴ᩵ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (พอํ่หม้าย)
- ᨾᩯ᩵ᩉ᩠ᨾ᩶ᩣ᩠ᨿ (แม่หม้าย)
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
- ᩁ᩶ᩣ᩠ᨦ (ร้าง)
อ้างอิง[แก้ไข]
- พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาเขินที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเขินที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเขิน
- คำนามภาษาเขิน
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทธรรม
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่ไม่มี nod-alt