木曜日
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาญี่ปุ่น[แก้ไข]
คันจิในศัพท์นี้ | ||
---|---|---|
木 | 曜 | 日 |
もく ระดับ: 1 |
よう ระดับ: 2 |
ひ > び ระดับ: 1 |
จูบะโกะโยะมิ |
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
/mokueubi/ > /mokujoːbi/
ประสมจาก 木曜 (mokuyō, “ดาวพฤหัสบดี”, อ้างอิงถึงวันของดาวพฤหัสบดีตามโหราศาสตร์จีน ซึ่งได้รับอิทธิพลมาตั้งแต่ยุคเฮอัง) + 日 (hi, “วัน”)[1][2][3]
คำประสมที่ใช้ปัจจัย 日 (hi, “วัน”) เริ่มปรากฎใช้กันอย่างแพร่หลายตั้งแต่ยุคเมจิพร้อมกับการประกาศใช้ปฏิทินกริกอเรียน
การออกเสียง[แก้ไข]
- (โตเกียว) もくよーび [mòkúyóꜜòbì] (นะกะดะกะ – [3])[4]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [mo̞kɯ̟ᵝjo̞ːbʲi]
คำนาม[แก้ไข]
木曜日 (โมะกุโยบิ) (ฮิระงะนะ もくようび, โรมะจิ mokuyōbi, ฮิระงะนะโบราณ もくえうび)
คำพ้องความ[แก้ไข]
- 木曜 (mokuyō)
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
- (วันของสัปดาห์) 曜日 (yōbi); 日曜日 (nichiyōbi, “วันอาทิตย์”), 月曜日 (getsuyōbi, “วันจันทร์”), 火曜日 (kayōbi, “วันอังคาร”), 水曜日 (suiyōbi, “วันพุธ”), 木曜日 (mokuyōbi, “วันพฤหัสบดี”), 金曜日 (kin'yōbi, “วันศุกร์”), 土曜日 (doyōbi, “วันเสาร์”) (หมวดหมู่:ภาษาญี่ปุ่น:วันของสัปดาห์)
อ้างอิง[แก้ไข]
- ↑ 2531 (1988), 国語大辞典(新装版) (Kokugo Dai Jiten, ฉบับปรับปรุงใหม่) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง
- ↑ 2549 (2006), 大辞林 (ไดจิริน), ปรับปรุงครั้งที่ 3 (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: ซันเซอิโด, →ISBN
- ↑ 2538 (1995), 大辞泉 (ไดจิเซ็น) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: โชงะกุกัง, →ISBN
- ↑ 2541 (1998), NHK日本語発音アクセント辞典 (พจนานุกรมสำเนียงการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นโดยเอ็นเอชเค) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: เอ็นเอชเค, →ISBN
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วย 木 ออกเสียง もく
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วย 曜 ออกเสียง よう
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วย 日 ออกเสียง ひ
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่ออกเสียงจูบะโกะโยะมิ
- คำประสมภาษาญี่ปุ่น
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่มีการออกเสียง IPA
- คำหลักภาษาญี่ปุ่น
- คำนามภาษาญี่ปุ่น
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วยคันจิระดับ 1
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วยคันจิระดับ 2
- ศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่สะกดด้วยคันจิ 3 ตัว
- ภาษาญี่ปุ่น:วันของสัปดาห์