ꪹꪄ꫁ꪱ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทดำ[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
- ꪹꪄꪱꫂ (เฃา2)
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [xaw˨˩ˀ]
- การแบ่งพยางค์: ꪹꪄ꫁ꪱ
- สัมผัส: -aw
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *χawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เข้า, ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทลื้อ ᦃᧁᧉ (เฃ้า), ภาษาไทใต้คง ᥑᥝᥲ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์), 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์), 𑜁𑜧𑜈𑜫 (ขว์ว์) หรือ 𑜁𑜨𑜧𑜈𑜫 (ขอ̂ว์ว์), ภาษาจ้วง haeuj
คำกริยา[แก้ไข]
ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า)
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า)
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.qawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ข้าว, ภาษาคำเมือง ᨡᩮᩢ᩶ᩣ (เขั้า), ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทลื้อ ᦃᧁᧉ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาพ่าเก ၵွ် (เขา), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์), 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์) หรือ 𑜁𑜧𑜈𑜫 (ขว์ว์), ภาษาจ้วง haeux, ภาษาแสก เกฺา
คำนาม[แก้ไข]
ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า)
รากศัพท์ 3[แก้ไข]
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า)
- คม (ไม่ทื่อ)
อ้างอิง[แก้ไข]
- Baccam, D., Baccam F., Baccam H., & Fippinger, D. (1989). Tai Dam-English, English-Tai Dam vocabulary book. Summer Institute of Linguistics.