ꪹꪜꪸꪒ
หน้าตา
ภาษาไทดำ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *petᴰˢ², จากภาษาไทดั้งเดิม *pitᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เป็ด, ภาษาคำเมือง ᨸᩮᩢ᩠ᨯ (เปัด), ภาษาเขิน ᨸᩮ᩠ᨯ (เปด), ภาษาลาว ເປັດ (เปัด), ภาษาอีสาน เป็ด, ภาษาไทลื้อ ᦵᦔᧆ (เปด), ภาษาไทใหญ่ ပဵတ်း (เป๊ต), ภาษาไทใต้คง ᥙᥥᥖᥱ (เป่ต), ภาษาอาหม 𑜆𑜢𑜄𑜫 (ปิต์), ภาษาจ้วง bit, ภาษาจ้วงแบบหนง baet, byet, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง bet, ภาษาปู้อี bidt, ภาษาแสก ปิ๊ด
เทียบภาษาจีนเก่า 鴄 (OC *pʰid), ภาษาเบดั้งเดิม *ɓitᴰ¹
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [pet̚˦˥]
- การแบ่งพยางค์: ꪹꪜꪸꪒ
- สัมผัส: -et̚
คำนาม
[แก้ไข]ꪹꪜꪸꪒ (เปย̂ด)