ชย

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ชัย และ ชุ่ย

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต जय (ชย), จากภาษาบาลี ชย; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ជ័យ (ชัย) และ ជយ (ชย), ภาษาลาว ໄຊ (ไซ)

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์[เสียงสมาส]
ชะ-ยะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchá-yá-
ราชบัณฑิตยสภาcha-ya-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰa˦˥.ja˦˥./

คำนาม[แก้ไข]

ชย

  1. การชนะ, ความชนะ

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชอ-ยอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔɔ-yɔɔ
ราชบัณฑิตยสภาcho-yo
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔː˧.jɔː˧/(สัมผัส)

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

ชย

  1. อักษรย่อของ ชัยภูมิ

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ชิ +‎

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ชย ช.

  1. ชัย, การชนะ

การผันรูป[แก้ไข]