สร

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: สิริ, สุร, และ สู่รู้

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี สร (ศร); เทียบภาษาสันสกฤต शर (ศร)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์สอน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsɔ̌ɔn
ราชบัณฑิตยสภาson
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/sɔːn˩˩˦/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงศร
สอน

คำนาม[แก้ไข]

สร

  1. ศร

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี สร (ทิพย์, แกล้วกล้า); เทียบภาษาสันสกฤต सुर (สุร)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์[เสียงสมาส]
สอ-ระ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsɔ̌ɔ-rá-
ราชบัณฑิตยสภาso-ra-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/sɔː˩˩˦.ra˦˥./

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

สร

  1. ทิพย์, แกล้วกล้า
    สรศาสดา
    สรศักดิ์
    สรสีห์

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์สฺระ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsrà
ราชบัณฑิตยสภาsra
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/sraʔ˨˩/(สัมผัส)

คำอนุภาค[แก้ไข]

สร

  1. คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น
  2. คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น สรนุก

รากศัพท์ 4[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์สอ-รอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsɔ̌ɔ-rɔɔ
ราชบัณฑิตยสภาso-ro
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/sɔː˩˩˦.rɔː˧/(สัมผัส)

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

สร

  1. อักษรย่อของ สุรินทร์

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

สร ?

  1. ศร
  2. สระ (น้ำ)
  3. เสียง

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

สร

  1. ที่เคลื่อนไป, ที่ตามไป
  2. ที่จำได้