ขนุน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากเขมรเก่าสมัยก่อนอังกอร์ ក្នុរ៑ (กฺนุรฺ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ខ្នុរ (ขฺนุร)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ขะ-หฺนุน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kà-nǔn |
ราชบัณฑิตยสภา | kha-nun | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰa˨˩.nun˩˩˦/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ขนุน
- ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Artocarpus heterophyllus Lam. ในวงศ์ Moraceae มีน้ำยางขาว ผลกลมยาวราว 20-50 เซนติเมตร ภายนอกเป็นหนามถี่ ภายในมียวงสีเหลืองหรือ สีจำปา รสหวาน กินได้ แก่นสีเหลืองเรียกว่า "กรัก" ใช้ต้มเอาน้ำย้อมผ้า, พันธุ์ที่มียวงสีเหลือง เนื้อนุ่มแต่ไม่เหลว เรียก "ขนุนหนัง", พันธุ์ที่มียวง สีจำปา เนื้อนุ่ม เรียก "ขนุนจำปาดะ", ส่วนพันธุ์ที่มียวงสีเหลือง เนื้อเหลว เรียก "ขนุนละมุด"
ลูกคำ
[แก้ไข]คำเกี่ยวข้อง
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ต้นขนุน
ผลขนุน
|
คำสืบทอด
[แก้ไข]- → ลาว: ຂະໜຸນ (ขะหนุน), ຂະບຸນ (ขะบุน)
- → ไทลื้อ: ᦖᦱᧅᦐᦳᧃ (หฺมากหฺนุน)
- → คำเมือง: ᩉ᩠ᨾᩣ᩠ᨠᩉ᩠ᨶᩩᩁ (หมากหนุร), ᩉ᩠ᨾ᩵ᩣᩉ᩠ᨶᩩᩁ (หม่าหนุร), ᩉ᩠ᨾᩉ᩠ᨶᩩᩁ (หมหนุร), ᨷ᩵ᩤᩉ᩠ᨶᩩᩁ (บ่าหนุร), ᨷᩉ᩠ᨶᩩᩁ (บหนุร)