ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หิน"

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Apisite (คุย | ส่วนร่วม)
Apisite (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัดที่ 13: บรรทัดที่ 13:


# [[ของแข็ง]][[ที่]][[ประกอบ]][[ด้วย]][[แร่]][[ชนิด]][[เดียว]][[หรือ]][[หลาย]]ชนิด[[รวม]][[ตัว]][[กัน]][[อยู่]][[ตาม]][[ธรรมชาติ]]
# [[ของแข็ง]][[ที่]][[ประกอบ]][[ด้วย]][[แร่]][[ชนิด]][[เดียว]][[หรือ]][[หลาย]]ชนิด[[รวม]][[ตัว]][[กัน]][[อยู่]][[ตาม]][[ธรรมชาติ]]

<!---
====Derived terms====
==== คำประสม ====
{{th-der|ถ่านหิน|หินทราย|หินชั้น|หินตะกอน|หินแปร|หินอัคนี|แร่ใยหิน|เศษหิน|ใจหิน|ก้อนหิน|ยุคหินเก่า|ยุคหินใหม่|หินลับมีด}}
{{der3|th|ถ่านหิน|หินทราย|หินชั้น|หินตะกอน|หินแปร|หินอัคนี|แร่ใยหิน|เศษหิน|ใจหิน|ก้อนหิน|ยุคหินเก่า|ยุคหินใหม่|หินลับมีด}}

--->
==== คำคุณศัพท์ ====
==== คำคุณศัพท์ ====
{{th-adj}}
{{th-adj}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:29, 3 พฤษภาคม 2565

ภาษาไทย

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia
หิน

การออกเสียง

การแบ่งพยางค์หิน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhǐn
ราชบัณฑิตยสภาhin
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hin˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

จากภาษาไทดั้งเดิม *triːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩥ᩠ᨶ (หิน), ภาษาลาว ຫີນ (หีน), ภาษาไทลื้อ ᦠᦲᧃ (หีน), ภาษาไทดำ ꪬꪲꪙ (หิน), ภาษาไทใหญ่ ႁိၼ် (หิน), ภาษาไทใต้คง ᥞᥤᥢᥴ (หี๋น), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜃𑜫 (ริน์), ภาษาจ้วง rin, ภาษาแสก หรี่นภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hin

คำนาม

หิน (คำลักษณนาม ก้อน)

  1. ของแข็งที่ประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ

คำประสม

คำคุณศัพท์

หิน (คำอาการนาม ความหิน)

  1. (ภาษาปาก) ยากมาก
    ข้อสอบหิน
  2. (ภาษาปาก) เข้มงวดมาก
    ครูคนนี้หิน
  3. (ภาษาปาก) เหี้ยมมาก, แข็งมาก
    เขาเป็นคนใจหิน

รากศัพท์ 2

คำกริยา

หิน

  1. (โบราณ) เปลี่ยนจากทิศทางเดิมไปเล็กน้อย
คำพ้องความ

รากศัพท์ 3

จากภาษาสันสกฤต हीन (หีน) หรือภาษาบาลี หีน

รูปแบบอื่น

การออกเสียง

การแบ่งพยางค์หิน[เสียงสมาส]
หิน-นะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhǐnhǐn-ná-
ราชบัณฑิตยสภาhinhin-na-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hin˩˩˦/(สัมผัส)/hin˩˩˦.na˦˥./

คำคุณศัพท์

หิน

  1. เลว, ทราม, ต่ำช้า