ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาเย็น"

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เก็บกวาด เก็บกวาด
บรรทัดที่ 25: บรรทัดที่ 25:
* ราชบัณฑิตยสถาน. '''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.''' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 372.
* ราชบัณฑิตยสถาน. '''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔.''' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 372.


[[หมวดหมู่:ภาษาไทย:เครื่องดื่ม]]
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย:ชา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:57, 17 พฤษภาคม 2559

ภาษาไทย

การออกเสียง

การแบ่งพยางค์ชา-เย็น
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchaa-yen
ราชบัณฑิตยสภาcha-yen
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰaː˧.jen˧/(สัมผัส)
ไฟล์เสียง

รากศัพท์ 1

ชา (เครื่องดื่ม) + เย็น

คำนาม

ชาเย็น

  1. ชาที่ชงใส่น้ำตาล นม และน้ำแข็ง

รากศัพท์ 2

ชา (รู้สึกน้อย) + เย็น

คำคุณศัพท์

ชาเย็น (คำอาการนาม ความชาเย็น)

  1. แสดงอาการเฉยเมยไม่สนใจไยดี
    เขาแสดงอาการชาเย็นกับฉันโดยไม่รู้สาเหตุ
คำพ้องความ

อ้างอิง

  • ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 55.
  • ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 372.