จึง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน จั่ง หรือ จิ่ง, ภาษาลาว ຈຶ່ງ (จึ่ง), ຈັ່ງ (จั่ง) หรือ ຈິ່ງ (จิ่ง), ภาษาคำเมือง ᨧᩥ᩠᩵ᨦ (จิ่ง), ภาษาไทดำ ꪊꪰ꪿ꪉ (จั่ง), ภาษาไทใหญ่ ၸင်ႇ (จั่ง), ภาษาจ้วง caengq (ฉั่ง, จั่ง), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง zwngq หรือ zwng (เจิ่ง, เจิง, จึ่ง, จึง)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์จึง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงjʉng
ราชบัณฑิตยสภาchueng
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕɯŋ˧/(สัมผัส)

คำสันธาน[แก้ไข]

จึง

  1. สำหรับต่อความแสดงกิริยาที่กระทำภายหลัง
    กินข้าวแล้วจึงไป
  2. แสดงความที่เป็นผลเนื่องจากเหตุข้างหน้า
    ทำดีจึงได้ดี

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

ภาษาเลอเวือะตะวันออก[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม *ɟiŋ

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

จึง

  1. เย็บ