ชั่ง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ชง, ชัง, ชิง, ชิ้ง, ชีง, และ ช๋ง

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɟaŋᴮ, เป็นไปได้ว่ามาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC tsyhingH, “ตราชู”) หรือ (MC tsyhing|tsyhingH, “ชั่งน้ำหนัก”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊັ່ງ (ซั่ง), ภาษาไทลื้อ ᦋᧂᧈ (ชั่ง), ภาษาไทใหญ่ ၸင်ႈ (จั้ง), ภาษาจ้วง caengh

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชั่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchâng
ราชบัณฑิตยสภาchang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰaŋ˥˩/(สัมผัส)
ไฟล์เสียง

คำนาม[แก้ไข]

ชั่ง

  1. มาตราเงินตามวิธีประเพณี 20 ตำลึงหรือ 80 บาท เป็น 1 ชั่ง
  2. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณีแบบไทย 20 ตำลึง เป็น 1 ชั่ง หรือมีน้ำหนักเท่ากับ 1,200 กรัม
  3. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณีแบบจีน มีน้ำหนักเท่ากับ 600 กรัม คือเป็นครึ่งหนึ่งของชั่งไทย

คำกริยา[แก้ไข]

ชั่ง (คำอาการนาม การชั่ง)

  1. (สกรรม) กระทำให้รู้น้ำหนักโดยใช้เครื่องชั่งหรือตราชูเป็นต้น