ฟาน

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨼᩣ᩠ᨶ (ฟาน), ภาษาลาว ຟານ (ฟาน), ภาษาไทลื้อ ᦝᦱᧃ (ฟาน), ภาษาไทดำ ꪡꪱꪙ (ฟาน), ภาษาไทใหญ่ ၽၢၼ်း (ผ๊าน) หรือ ၾၢၼ်း (ฝ๊าน), ภาษาไทใต้คง ᥜᥣᥢᥰ (ฝ๊าน), ภาษาอ่ายตน ၸꩫ် (ผน์)ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง fanz หรือ nanxภาษาจ้วง duz fanz หรือ du ging

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ฟาน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงfaan
ราชบัณฑิตยสภาfan
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/faːn˧/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

ฟาน

  1. (โบราณ) เก้ง
  2. เก้งชนิด Muntiacus muntjak, อีเก้ง ก็เรียก

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ฟาน (คำลักษณนาม ตั๋ว)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨼᩣ᩠ᨶ (ฟาน)