อม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: อ.ม., อิม, อิ่ม, อืม, อุ้ม, และ อูม

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʔɤmᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩋᩫ᩠ᨾ (อ็ม), ภาษาเขิน ᩋᩫ᩠ᨾ (อ็ม), ภาษาลาว ອົມ (อ็ม), ภาษาไทลื้อ ᦷᦁᧄ (โอ̱ม), ภาษาไทใหญ่ ဢူမ် (อูม), ภาษาอาหม 𑜒𑜤𑜉𑜫 (อุม์), ภาษาจ้วง oem, ภาษาจ้วงแบบหนง umq

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์อม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงom
ราชบัณฑิตยสภาom
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔom˧/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

อม (คำอาการนาม การอม)

  1. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป
  2. โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา
    อมภูมิ
  3. กลมกลืน, ปนกัน
    อมเปรี้ยวอมหวาน
    เขียวอมเหลือง
  4. (ภาษาปาก) เม้ม, ขมิบ, ยักเอาไว้
    อมเงิน
    อมของหลวง