ابجد

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเปอร์เซีย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

จากภาษาอาหรับ أَبْجَد(อับญัด), เทียบเท่าตัวอักษรอาหรับแบบเปอร์เซีย 4 ตัวแรก ได้แก่ ا(ตัวเกาะสระ), ب(), ج(), د()

การออกเสียง[แก้ไข]

  • สัทอักษรเปอร์เซีย:
ดั้งเดิม: [اَڤْجَذ]‎, ดารี: [اَبْجَد]
อิหร่าน: [اَبْجَد]
การแผลงเป็นอักษรโรมัน
คลาสสิก? aḇjaḏ
ดารี? abjad
อิหร่าน? abjad
ทาจิก? abjad

คำนาม[แก้ไข]

เปอร์เซียแบบดารี ابجد
เปอร์เซียแบบอิหร่าน
ทาจิก абҷад (abjad)

ابجد (abjad)

  1. อับญัด, อักษรไร้สระ
  2. (ในเชิงเปรียบเทียบ) ความจริงหรือข้อเท็จจริงพื้นฐาน
    • c. 1620, Mīr Dāmād Astarābādī, “Rubā’i 167”, in fa:دیوانِ اشراق [Dēwān-i išrāq]‎[1]:
      از لطف تو مشکل اشارات و شفا
      در مکتب علم ما یکی ابجد بود
      az lutf-i tū muškil-i išārāt u šifā
      dar maktab-i ilm-i mā yakē abjad buwad
      By Your grace, the puzzle of the Directives and the Healing
      Has become an ABC in the school of our learning.
      (Classical Persian romanization)

ภาษามาเลเซีย[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ابجد (พหูพจน์ ابجد-ابجدหรือ ابجد۲‎, สัมพันธการกบุคคลที่หนึ่งไม่ทางการ ابجدکو‎, สัมพันธการกบุคคลที่สอง ابجدمو‎, สัมพันธการกบุคคลที่สาม ابجدڽ‎)

  1. การสะกดเป็นอักษรยาวีของ abjad