ลวด

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ลวด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlûuat
ราชบัณฑิตยสภาluat
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/lua̯t̚˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩃ᩠ᩅᨯ (ลวด), ภาษาลาว ລວດ (ลวด), ภาษาเขิน ᩃ᩠ᩅᨯ (ลวด), ภาษาไทลื้อ ᦷᦟᧆ (โลด); เทียบภาษาเขมร លួស (ลัวส)

คำนาม[แก้ไข]

ลวด

  1. สิ่งที่ทำเป็นเส้นยาว ๆ
  2. เรียกสิ่งที่ทำด้วยลวดโลหะคล้ายสิ่งทอ ใช้กันยุงต่างมุ้ง
  3. เรียกเครื่องปูลาดสำหรับรองนั่ง ทำด้วยต้นกก ทอเป็นผืนหน้ากว้างประมาณ ๑ เมตร ความยาวไม่จำกัด นิยมใช้ตามวัด
  4. ลายที่ลอกเป็นเส้นกลมยาวไปตามขอบตัวไม้ต่าง ๆ

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩃ᩠ᩅᨯ (ลวด), ภาษาลาว ໂລດ (โลด), ภาษาเขิน ᩃ᩠ᩅᨯ (ลวด), ภาษาไทลื้อ ᦷᦟᧆ (โลด)

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

ลวด

  1. (โบราณ) เลย (ใช้หลังคำกริยา)