วาณิช
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากบาลี วาณิช หรือสันสกฤต वाणिज (วาณิช)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | วา-นิด | [เสียงสมาส] วา-นิด-ชะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | waa-nít | waa-nít-chá- |
ราชบัณฑิตยสภา | wa-nit | wa-nit-cha- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /waː˧.nit̚˦˥/(สัมผัส) | /waː˧.nit̚˦˥.t͡ɕʰa˦˥./ | |
คำพ้องเสียง | วานิช วาณิชย์ |
คำนาม
[แก้ไข]วาณิช
- พ่อค้า, มักใช้พูดเข้าคู่กับคำ พ่อค้า เป็น "พ่อค้าวาณิช"
คำพ้องความ
[แก้ไข]ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]วาณิช ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "วาณิช" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | วาณิโช | วาณิชา |
กรรมการก (ทุติยา) | วาณิชํ | วาณิเช |
กรณการก (ตติยา) | วาณิเชน | วาณิเชหิ หรือ วาณิเชภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | วาณิชสฺส หรือ วาณิชาย หรือ วาณิชตฺถํ | วาณิชานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | วาณิชสฺมา หรือ วาณิชมฺหา หรือ วาณิชา | วาณิเชหิ หรือ วาณิเชภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | วาณิชสฺส | วาณิชานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | วาณิชสฺมิํ หรือ วาณิชมฺหิ หรือ วาณิเช | วาณิเชสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | วาณิช | วาณิชา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- สัมผัส:ภาษาไทย/it̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย