หม่า

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: หมา และ หม่ำ

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์หฺม่า
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmàa
ราชบัณฑิตยสภาma
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/maː˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

หม่า (คำอาการนาม การหม่า)

  1. (ล้าสมัย) กิน
    ในห้องมีของกินมาก เข้าไปหม่าเสียซิ

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

หม่า (คำอาการนาม การหม่า)

  1. (ล้าสมัย) ปล่อยไว้ไม่เป็นระเบียบ
    เสื้อผ้าข้าวของไม่เก็บ หม่าไว้เต็มห้อง

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾ᩵ᩣ (หม่า), ภาษาอีสาน หม่า, ภาษาลาว ໝ່າ (หม่า), ภาษาไทลื้อ ᦖᦱᧈ (หฺม่า), ภาษาไทใหญ่ မႃႇ (ม่า)

คำกริยา[แก้ไข]

หม่า (คำอาการนาม การหม่า)

  1. (ล้าสมัย) หมัก, แช่ให้อ่อนตัว
    หม่าข้าว
    หม่าแป้ง
    หม่าปูน

คำสลับอักษร[แก้ไข]

ภาษาแสก[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmaːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หมา, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩣ (หมา), ภาษาลาว ໝາ (หมา), ภาษาไทลื้อ ᦖᦱ (หฺมา), ภาษาไทดำ ꪢꪱ (หฺมา), ภาษาไทใหญ่ မႃ (มา), ภาษาไทใต้คง ᥛᥣᥴ (ม๋า), ภาษาอ่ายตน မႃ (มา), ภาษาอาหม 𑜉𑜠 (มะ), ภาษาจ้วง ma

คำนาม[แก้ไข]

หม่า

  1. หมา

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หม่า, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾ᩵ᩣ (หม่า), ภาษาลาว ໝ່າ (หม่า), ภาษาไทลื้อ ᦖᦱᧈ (หฺม่า), ภาษาไทใหญ่ မႃႇ (ม่า)

คำกริยา[แก้ไข]

หม่า (คำอาการนาม การหม่า)

  1. หมัก, แช่ให้อ่อนตัว