ໜໍ່
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (ล้าสมัย) ຫນໍ່ (หนํ่)
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰnɔːᴮ¹, จากไทดั้งเดิม *ʰnoːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับไทย หน่อ, คำเมือง ᩉ᩠ᨶᩬᩴ᩵ (หนอํ่), เขิน ᩉ᩠ᨶᩳ᩵ (หนอ่), ไทลื้อ ᦐᦸᧈ (หฺน่อ̂), ไทขาว ꪘꪮꫀ, ไทใหญ่ ၼေႃႇ (น่อ̂), พ่าเก ꩫေႃ (นอ̂), อาหม 𑜃𑜦𑜡 (นอ̂), จ้วง noq
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [nɔː˧]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [nɔː˧˨]
- การแบ่งพยางค์: ໜໍ່
- สัมผัส: -ɔː
- คำพ้องเสียง: ນໍ່ (นํ่) (ในถิ่นที่มีการออกเสียงอักษรคู่เหมือนกันเมื่อมีไม้เอก)
คำนาม
[แก้ไข]ໜໍ່ • (หนํ่)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาลาวที่มี 1 พยางค์
- สัมผัส:ภาษาลาว/ɔː
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีคำพ้องเสียง
- คำหลักภาษาลาว
- คำนามภาษาลาว
- ศัพท์ภาษาลาวที่มีตัวอย่างการใช้