anno Domini

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษานอร์เวย์แบบบุ๊กมอล[แก้ไข]

วิกิพีเดียภาษานอร์เวย์แบบบุ๊กมอลมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia nb

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ส่วนแรก anno จาก ภาษาละติน annō, อปาทานการกของ annus (ปี; เวลา), จาก ภาษาอิตาลิกดั้งเดิม *atnos (ปี), จาก ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *h₂et-no-, จาก *h₂et- (ไป)

ส่วนหลัง Domini จาก ภาษาละติน Dominī, สัมพันธการกเอกพจน์ของ Dominus (พระผู้เป็นเจ้า), ของ dominus (เจ้า, เจ้าบ้าน), จาก ภาษาอิตาลิกดั้งเดิม *domanos, จาก ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *domh₂nos (เผด็จ), จาก *demh₂- (เชื่อง, อ่อนน้อม)

การออกเสียง[แก้ไข]

วลี[แก้ไข]

anno Domini

  1. anno Domini (ยุคปฏิทินปัจจุบันซึ่งเริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณ 2,000 ปีที่แล้วในปฏิทินกริกอเรียน โดยอิงจากสันนิษฐานประสูติกาลของพระเยซูคริสต์)
    • 2002, Cecilie Høigård, Gategallerier:
      [AD] kan også bety noe annet enn Angel Devious, det kan bety Anno Domini
      [AD] อาจหมายถึงอย่างอื่นที่ไม่ใช่ Angel Devious เช่นอาจหมายถึง Anno Domini

อ้างอิง[แก้ไข]

ภาษาละติน[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

จาก annō (อปาทานการกของ annus (ปี)) + Dominī (สัมพันธการกของ Dominus (พระผู้เป็นเจ้า))

การออกเสียง[แก้ไข]

วลี[แก้ไข]

annō Dominī

  1. สัมปทานการก เอกพจน์ของ annus Dominī
  2. อปาทานการก เอกพจน์ของ annus Dominī: ในปีหลังจากพระผู้เป็นเจ้าจุติ, anno Domini
    • 1282-1285 — Simon de Keza, Gesta Hungarorum; ตอนที่ 7
      Igitur in aetate sexta saeculi multiplicati Huni in Scitia habitando ut arena, anno Domini septingentesimo in unum congregati, capitaneos inter se...
    • 1476Commissio propria domini regis; Decreta Regni Hungariae 1458-1490 (บูดาเปสต์, 1989)
      Datum Bude in Dominica reminiscere anno Domini millesimo quadringentesimo septuagesimo sexto regnorum nostrorum anno Hungarie etc.

ภาษาอังกฤษ[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

คำยืมจาก ละตินสมัยกลาง annō Dominī, จาก annō, (อปาทานการกของ annus (ปี)) + Dominī (สัมพันธการกของ dominus (ผู้เป็นเจ้า)); ตามตัวอักษร: in the year of our Lord, ในปีหลังจากพระคริสต์จุติ

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

anno Domini (นับได้และนับไม่ได้, พหูพจน์ annis Domini)

  1. ยุคปฏิทินปัจจุบันซึ่งเริ่มต้นขึ้นเมื่อประมาณ 2,000 ปีที่แล้วในปฏิทินกริกอเรียน โดยอิงจากสันนิษฐานประสูติกาลของพระเยซูคริสต์

การใช้งาน[แก้ไข]

  • การลงรายการทางบรรณานุกรมในรูปแบบ Chicago Manual of Style และส่วนใหญ่ของรูปแบบเฉพาะหน่วยงานอื่น ๆ จะวางคำว่า AD ไว้ก่อนวันที่ (เช่น AD 250) แม้ว่าในการใช้แบบลำลองจะพบการวางตำแหน่งของคำตามหลังวันที่บ่อยครั้ง

คำพ้องความ[แก้ไข]

คำตรงข้าม[แก้ไข]

คำแปล[แก้ไข]

อ่านเพิ่มเติม[แก้ไข]

อ้างอิง[แก้ไข]