เอ๋ย

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: เอีย, เอ่ย, และ เอ้ย

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເອີຍ (เอีย), ภาษาคำเมือง ᩉᩮᩥ᩠ᨿ (เหิย), ภาษาไทลื้อ ᦵᦠᧀ (เหิย) หรือ ᦵᦣᧀ (เฮิย), ภาษาไทดำ ꪹꪭꪷꪥ (เฮํย) หรือ ภาษาไทดำ ꪹꪮꪷꪥ (เอํย), ภาษาไทใหญ่ ဢူၺ် (อูญ) หรือ ဢိုၺ် (อึญ) หรือ ဢိူၺ်ႊ (เอิ๋ญ), ภาษาจ้วง wir/eir (เอย, ไอ), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง eir (เอย); เทียบภาษาเขมร អើយ (เอิย), ภาษาเวียดนาม ơi

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เอ๋ย
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงə̌əi
ราชบัณฑิตยสภาoei
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔɤːj˩˩˦/(สัมผัส)

คำอนุภาค[แก้ไข]

เอ๋ย

  1. คำลงท้ายชื่อหรือถ้อยคำเพื่อบอกให้รู้หรือร้องเรียกด้วยความเอ็นดู
    น้องเอ๋ย
  2. คำที่ใช้ในตอนขึ้นต้นคำกลอนหรือบทดอกสร้อย
    กาเอ๋ยกาดำ
    รถเอ๋ยรถทรง

คำพ้องความ[แก้ไข]

  • (คำแสดงความเอ็นดู) เอ๊ย