ข้ามไปเนื้อหา

ช่าง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ชาง, ช้าง, และ ช๊าง

ภาษาไทย

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ช่างชั่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchâangchâng
ราชบัณฑิตยสภาchangchang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰaːŋ˥˩/(สัมผัส)/t͡ɕʰaŋ˥˩/(สัมผัส)
ไฟล์เสียง

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ɟaːŋᴮ², จากภาษาจีนยุคกลาง (MC dzjangH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩ᩵ᩣ᩠ᨦ (ช่าง), ภาษาเขิน ᨩ᩵ᩣ᩠ᨦ (ช่าง), ภาษาลาว ຊ່າງ (ซ่าง), ภาษาไทลื้อ ᦋᦱᧂᧈ (ช่าง), ภาษาไทใหญ่ ၸၢင်ႈ (จ้าง), ภาษาพ่าเก ꩡင် (จง์), ภาษาไทดำ ꪋ꪿ꪱꪉ (จ่̱าง), ภาษาอาหม 𑜋𑜂𑜫 (ฉง์), ภาษาจ้วง cangh, ภาษาเขมร ជាង (ชาง)

คำนาม

[แก้ไข]

ช่าง

  1. ผู้ชำนาญในการฝีมือหรือศิลปกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
    ช่างตัดเสื้อ
    ช่างไม้
    ช่างทอง
    ช่างตัดผม

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์

[แก้ไข]

ช่าง

  1. มีนิสัยชอบในทางใดทางหนึ่ง
    ช่างคิด
    ช่างพูด
    ช่างประดิษฐ์
  2. มีลักษณะโน้มไปในทางนั้น ๆ
    ช่างโง่จริง ๆ
    ช่างเก่งจริง ๆ

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์

[แก้ไข]

ช่าง

  1. ปล่อย, วางธุระ
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]