นิ่ว

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: นว, นัว, และ นิ้ว

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์นิ่ว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnîu
ราชบัณฑิตยสภาnio
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/niw˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰniːwꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩥ᩶ᩅ (หนิ้ว), ภาษาลาว ໜີ້ວ (หนี้ว), ภาษาไทลื้อ ᦐᦲᧁᧉ (หฺนี้ว)

คำนาม[แก้ไข]

นิ่ว

  1. เกลือเคมีหรือสารเคมีอื่น เช่นคอเลสเตอรอลที่เกิดเป็นก้อนแข็งในไต กระเพาะปัสสาวะ ถุงน้ำดี หรือท่อของต่อมบางชนิดในร่างกาย เช่นต่อมน้ำลาย ตับอ่อน

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

นิ่ว

  1. ทำหน้าย่นขมวดคิ้วแสดงความไม่พอใจหรือรู้สึกเจ็บเป็นต้น

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

นิ่ว

  1. มีสีหน้าเช่นนั้น ในคำว่า หน้านิ่ว