สัปเหร่อ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษามอญ သပ္ပရိုဟ် (สปฺปริุห์, “คนดี”)[1][2], เพี้ยนมาจาก သပ္ပုရိဟ် (สปฺปุริห์), จากภาษาบาลี สปฺปุริส (“คนดี”)[2]
พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)[3] สันนิษฐานว่ามาจากภาษาเขมรเก่า សប្បរុស (สปฺปรุส), °សប្បរស (°สปฺปรส), សប្បរស្ស (สปฺปรสฺส), ซึ่งเป็นคำลูกผสมระหว่างภาษาบาลี สปฺปุริส และภาษาสันสกฤต सत्पुरुष (สตฺปุรุษ) สัมพันธ์กับภาษาเขมร សប្បុរស (สบฺบุรส)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {เสียงพยัญชนะซ้ำ} | สับ-ปะ-เหฺร่อ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sàp-bpà-rə̀ə |
ราชบัณฑิตยสภา | sap-pa-roe | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sap̚˨˩.pa˨˩.rɤː˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]สัปเหร่อ (คำลักษณนาม คน)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ พวน รามัญวงศ์ (2005) พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม [Mon-Thai (Siamese) Dictionary], กรุงเทพฯ: มติชน, →ISBN
- ↑ 2.0 2.1 บรรจบ พันธุเมธา, "อันเนื่องด้วยชื่อ ชื่อแขกฝรั่งจีนจาม", ภาษาและหนังสือ, ปีที่ 25, ฉบับที่ 52, 8 เมษายน พ.ศ. 2516 [ค.ศ. 1973]. (หน้า 33 ของ PDF)
- ↑ "สัปเหร่อ". (2007-06-13). ข่าวสด. Retrieved: 2017-01-21.
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษามอญ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษามอญ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมรเก่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɤː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 3 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม คน
- ไทย entries with incorrect language header
- Pages with nonstandard language headings