ฮู้

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: , ฮ., ฮิ, ฮี, ฮึ, และ ฮู

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาแต้จิ๋ว (ฮู้ hu5, สัญลักษณ์; ยันต์)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ฮู้
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhúu
ราชบัณฑิตยสภาhu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/huː˦˥/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

ฮู้

  1. ยันต์สำหรับกันภูติผีปีศาจ

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ฮู้ (คำอาการนาม ก๋ารฮู้ หรือ ก๋านฮู้ หรือ กำฮู้ หรือ ความฮู้)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩁᩪ᩶ (รู้)

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *rɯːwꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย รู้, ภาษาคำเมือง ᩁᩪ᩶ (รู้), ภาษาลาว ຮູ້ (ฮู้), ภาษาไทลื้อ ᦣᦴᧉ (ฮู้), ภาษาไทดำ ꪭꪴ꫁ (ฮุ้), ภาษาไทใหญ่ ႁူႉ (หู๎), ภาษาอาหม 𑜍𑜥 (รู) หรือ 𑜍𑜤𑜈𑜫 (รุว์), ภาษาจ้วง rox, ภาษาแสก รอ

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ฮู้ (คำอาการนาม การฮู้)

  1. รู้