โกรธ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) โกรฎ
รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต क्रोध (กฺโรธ)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | โกฺรด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gròot |
ราชบัณฑิตยสภา | krot | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kroːt̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | โกรด โกรศ |
คำกริยา
[แก้ไข]โกรธ (คำอาการนาม การโกรธ หรือ ความโกรธ)
การใช้
[แก้ไข]ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงพระโกรธ, คำอื่นที่ใช้เช่น กริ้ว และ ทรงพระพิโรธ
คำพ้องความ
[แก้ไข]คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]มีความรู้สึกขุ่นเคืองใจ ไม่พอใจ หรือไม่อยากเป็นมิตรอย่างรุนแรง
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ อิเหนา พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. 2464
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- สัมผัส:ภาษาไทย/oːt̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- จีนกลาง terms with redundant transliterations
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทลื้อ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทลื้อ/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ