ชิง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ชง, ชัง, ชั่ง, ชิ้ง, ชีง, และ ช๋ง

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชิง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงching
ราชบัณฑิตยสภาching
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰiŋ˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC tsreang); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊີງ (ซีง), ภาษาเขิน ᨩᩥ᩠ᨦ (ชิง), ภาษาไทใหญ่ ၸိင်း (จิ๊ง), ภาษาอาหม 𑜋𑜢𑜂𑜫 (ฉิง์), ภาษาจ้วง ceng (แชง, ชิง), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง zeng (แจง, ชิง)

คำกริยา[แก้ไข]

ชิง (คำอาการนาม การชิง)

  1. แข่ง, แข่งขัน
    ชิงรางวัล
    ชิงทุน
  2. แย่ง
    ชิงอำนาจ

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนกลาง (qīng) ย่อมาจาก 清朝清朝

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

ชิง

  1. ราชวงศ์หนึ่งของจีน

ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ชิง

  1. กะพ้อ