ข้าง
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ข่าง
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ฃ้าง
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *k.raːŋꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨡ᩶ᩣ᩠ᨦ (ข้าง) (ในคำ ᨡᩦ᩶ᨡ᩶ᩣ᩠ᨦ (ขี้ข้าง), ᩈ᩠ᩅ᩶ᨦᨡ᩶ᩣ᩠ᨦ (สว้งข้าง)), ภาษาลาว ຂ້າງ (ข้าง), ภาษาไทใหญ่ ၶၢင်ႈ (ข้าง) และ ၶၢင်း (ข๊าง), ภาษาไทใต้คง ᥑᥣᥒᥲ (ฃ้าง), ภาษาพ่าเก ၵင် (ขง์), ภาษาอาหม 𑜁𑜂𑜫 (ขง์) หรือ 𑜁𑜞𑜂𑜫 (ขฺรง์), ภาษาจ้วง hangj (ในคำ ndokhangj), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hangj; เทียบภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม *baʀaŋ, *tageʀaŋ (“ซี่โครง”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ค่าง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kâang |
ราชบัณฑิตยสภา | khang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰaːŋ˥˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ค่าง |
คำนาม
[แก้ไข]ข้าง
คำเกี่ยวข้อง
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- คำบุพบทภาษาไทย