เบื้อง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เบื้อง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bʉ̂ʉang |
ราชบัณฑิตยสภา | bueang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /bɯa̯ŋ˥˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.bɯəŋꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເບື້ອງ (เบื้อง), ภาษาจ้วง mbiengj,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mbwengj
คำนาม
[แก้ไข]เบื้อง
- ทาง, ข้าง, ด้าน, (ใช้ในลักษณะที่เริ่มต้นไปถึงปลาย สูงต่ำ หรือ ซ้ายขวา เป็นต้น)
- เบื้องต้น
- เบื้องปลาย
- เบื้องบน
- เบื้องล่าง
- เบื้องซ้าย
- เบื้องขวา
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]เบื้อง
- ชื่ออาหารว่างอย่างหนึ่ง ทำโดยละเลงแป้งที่ผสมดีแล้วลงบนกระทะแบนที่เรียกว่า กระเบื้อง ให้เป็นแผ่นกลม ๆ และบางเสมอกัน ใส่ไส้หวานหรือไส้เค็มแล้วพับ 2 เรียกว่า ขนมเบื้อง หรือ ขนมเบื้องไทย
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]ภาษาปักษ์ใต้
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย กระเบื้อง, ภาษาลาว ກະເບຶ້ອງ (กะเบึ้อง), ภาษาไทใหญ่ မိူင်ႈ (เมิ้ง) หรือ ဝိူင်ႈ (เวิ้ง)
คำนาม
[แก้ไข]เบื้อง
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯ŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/m
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำนามภาษาปักษ์ใต้
- การร้องขอความสนใจเกี่ยวกับภาษาปักษ์ใต้
- attention lacking explanation