ดี
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ดี | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dii |
ราชบัณฑิตยสภา | di | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /diː˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɗɤjᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ดี, ภาษาลาว ດີ (ดี), ภาษาคำเมือง ᨯᩦ (ดี), ภาษาไทลื้อ ᦡᦲ (ดี), ภาษาไทดำ ꪒꪲ (ดิ), ภาษาไทใหญ่ လီ (ลี), ภาษาอาหม 𑜓𑜣 (ดี), 𑜃𑜣 (นี) หรือ 𑜑𑜣 (หี), ภาษาปู้อี ndil, ภาษาจ้วง ndei
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ดี (คำอาการนาม ความดี)
- มีลักษณะที่เป็นไปในทางที่ต้องการ น่าปรารถนา น่าพอใจ ใช้ในความหมายที่ตรงข้ามกับลักษณะบางอย่างแล้วแต่กรณี คือ ตรงข้ามกับชั่ว
- คนดี
- ความดี
- ตรงข้ามกับร้าย
- โชคดี
- เคราะห์ดี
- สวย, งาม
- หน้าตาดี
- เรียบร้อย
- มรรยาทดี
- เพราะ
- เสียงดี
- จัด
- แดดดี
- เก่ง
- ดีแต่พูด
- ชอบ
- ดีแล้ว
- อยู่ในสภาพปรกติ
- สุขภาพดี
- คืนดี
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓliːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ບີ (บี), ภาษาไทใหญ่ လီ (ลี), ภาษาอาหม 𑜓𑜣 (ดี) หรือ 𑜎𑜣 (ลี), ภาษาจ้วง mbei,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง ndi
คำนาม
[แก้ไข]ดี
- อวัยวะภายในของคนและสัตว์ที่บรรจุน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ซึ่งออกจากตับ สำหรับช่วยย่อยอาหาร
- เรียกน้ำข้นสีเขียว มีรสขม ออกจากตับ สำหรับช่วยย่อยอาหารว่า น้ำดี
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาอังกฤษ dee (ดี, “ชื่อเรียกอักษร D”)
คำนาม
[แก้ไข]ดี
- ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน D/d
ดูเพิ่ม
[แก้ไข]- (ชื่อตัวอักษรในอักษรละติน) ตัวอักษร; เอ, บี, ซี, ดี, อี, เอฟ, จี, เอช / เฮช, ไอ, เจ, เค, แอล, เอ็ม, เอ็น, โอ, พี, คิว, อาร์, เอส, ที, ยู, วี, ดับเบิลยู / ดับบลิว, เอกซ์ / เอ็กซ์, วาย, แซด / ซี
ภาษากฺ๋อง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /di/
คำนาม
[แก้ไข]ดี
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/iː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาอังกฤษ
- th:ชื่อตัวอักษรละติน
- ศัพท์ภาษากฺ๋องที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษากฺ๋อง
- คำนามภาษากฺ๋อง