ดู
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ˀduːᴬ³; ร่วมเชื้อสายกับลาว ດູ (ดู), คำเมือง ᨯᩪ (ดู), ไทดำ ꪒꪴ (ดุ), ไทใหญ่ လူ (ลู), พ่าเก ꩫူ (นู), อาหม 𑜎𑜥 (ลู), จ้วงแบบจั่วเจียง ndu (ใน ndaej ndu (“ได้ดู-มองเห็น”) (Daxin))
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ดู | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | duu |
ราชบัณฑิตยสภา | du | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /duː˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ดู (คำอาการนาม การดู)
- (สกรรม) ใช้สายตาเพื่อให้เห็น
- ดูภาพ, ดูละคร
- (สกรรม) ระวังรักษา
- ดูบ้านให้ด้วย
- ไม่มีคนดูเด็ก
- (สกรรม) พินิจพิจารณา
- ดูให้ดี
- (สกรรม) ศึกษาเล่าเรียน
- ดูหนังสือ
- (สกรรม) เห็นจะ
- ดูจะเกินไปละ
- (สกรรม) ทำนาย
- ดูโชคชะตาราศี
คำพ้องความ
[แก้ไข]ใช้สายตาเพื่อให้เห็น
ลูกคำ
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ใช้ตาเพื่อให้เห็น
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]ดู
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/uː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย