ชม
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]เทียบภาษาจีนยุคกลาง 諂 (MC trhjemX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩᩫ᩠ᨾ (ช็ม), ภาษาเขิน ᨩᩫ᩠ᨾ (ช็ม), ภาษาลาว ຊົມ (ซ็ม), ภาษาไทลื้อ ᦋᦳᧄ (ชุม), ภาษาไทใหญ่ ၸူမ်း (จู๊ม)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chom |
ราชบัณฑิตยสภา | chom | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰom˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ชม (คำอาการนาม การชม)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩᩫ᩠ᨾ (ช็ม), ภาษาลาว ຊົມ (ซ็ม)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chom |
ราชบัณฑิตยสภา | chom | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰom˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ชม (คำอาการนาม การชม)
- (สกรรม) ดู (ใช้ในที่สุภาพ)
- เชิญชมของในร้าน
- (สกรรม) ดูเพื่อให้เกิดความเพลิดเพลินใจหรือชื่นใจ
- ชมสวน
- ชมนกชมไม้
คำนาม
[แก้ไข]ชม
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชอ-มอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chɔɔ-mɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | cho-mo | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰɔː˧.mɔː˧/(สัมผัส) |
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]ชม
- อักษรย่อของ เชียงใหม่