ว่า
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 話 (MC hwaejH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ວ່າ (ว่า), ภาษาคำเมือง ᩅ᩵ᩤ (ว่า), ภาษาเขิน ᩅ᩵ᩤ (ว่า), ภาษาไทลื้อ ᦞᦱᧈ (ว่า), ภาษาไทดำ ꪫ꪿ꪱ (ว่า), ภาษาไทใหญ่ ဝႃႈ (ว้า), ภาษาอาหม 𑜈𑜠 (บะ), ภาษาจ้วง vah
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ว่า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | wâa |
ราชบัณฑิตยสภา | wa | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /waː˥˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | หว้า |
คำกริยา
[แก้ไข]ว่า (คำอาการนาม การว่า)
- (อกรรม) พูด, บอก
- เขาว่า ที่นี่ฝนตกทุกวัน
- (สกรรม) ดุ, ติ
- อย่าเอะอะไปเดี๋ยวครูว่าเอา
- ดีแต่ว่าเขา
- (สกรรม) ดุด่าว่ากล่าว
- ว่าไม่ได้ ก็เลี้ยงไม่ได้
- (สกรรม) ร้อง
- ว่าเพลง
- จ้าง, ตกลงให้ทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง
- ไปว่าขนมมาเลี้ยงแขก
- เป็นคำใช้แทนกริยาอื่นบางคำได้ เป็นต้นว่าใช้แทนคำว่ากิน, ใช้แทนคำว่า ทำ
- ว่าเสียเรียบ
- ว่าเสียเต็มคราบ
- ว่าเสียเอง
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]พูด
คำสันธาน
[แก้ไข]ว่า
- คำเชื่อมประโยค; ตัวนําสำนวนเติมเต็ม (complementizer)
- พูดว่า
- คิดว่า
- หมายความว่า
- มีความเห็นว่า
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ภาษาบีซู
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /wà/
คำนาม
[แก้ไข]ว่า (wà)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำอกรรมกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำสกรรมกริยาภาษาไทย
- อังกฤษ translations
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+
- คำสันธานภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาบีซูที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาบีซู
- คำนามภาษาบีซู