ว้า

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: วา และ ว่า

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ว้า
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงwáa
ราชบัณฑิตยสภาwa
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/waː˦˥/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

คำอุทาน[แก้ไข]

ว้า

  1. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกไม่พอใจหรือผิดจากที่คาดไว้เป็นต้น

คำอนุภาค[แก้ไข]

ว้า

  1. คำออกเสียงลงท้ายประโยคแสดงความสงสัยหรือปลอบใจเป็นต้น
    หายไปไหนว้า
    อย่าเสียใจไปเลยว้า

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

ว้า

  1. ว่าง, เปลี่ยวใจ, เปล่าใจ, ใจหาย

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาไทใหญ่ ဝႃႉ (ว๎า) หรือภาษาพม่า ()

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

ว้า

  1. ชื่อเขตปกครองตนเองโดยพฤตินัย ตั้งอยู่ในรัฐชาน ประเทศพม่า, ชาวว้าเรียกเขตนี้ว่า รัฐว้า (Wa State)
  2. ชื่อภาษาที่พูดโดยชาวว้า แบ่งเป็นภาษาถิ่น 3 ภาษา ได้แก่ ปาเราก์ (Parauk), เวาะ (Vo) และ อาเวอะ (Awa)

คำนาม[แก้ไข]

ว้า

  1. (คน~, ชาว~) กลุ่มชาติพันธุ์ในเขตว้า