เรียก
หน้าตา
ดูเพิ่ม: เรี̄ยก
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) รยก
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *riəkᴰᴸ⁴; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก), ภาษาเขิน ᩁ᩠ᨿᨠ (รยก), ภาษาอีสาน เฮียก, ภาษาลาว ຮຽກ (ฮย̂ก), ภาษาไทลื้อ ᦵᦣᧅ (เฮก), ภาษาไทดำ ꪭꪸꪀ (ฮย̂ก), ภาษาไทใหญ่ ႁဵၵ်ႈ (เห้ก), ภาษาพ่าเก ꩭိက် (หิก์), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜀𑜫 (ริก์), ภาษาแสก เหร้ก, ภาษาจ้วง lig (ลีก) (เมือง Jingxi) หรือ lieg (เลียก) (เมือง Daxin)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เรียก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | rîiak |
ราชบัณฑิตยสภา | riak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ria̯k̚˥˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]เรียก (คำอาการนาม การเรียก)
- (สกรรม) เปล่งเสียงเพื่อให้มาหรือให้ไปเป็นต้น
- แม่เรียกให้มาทำการบ้าน
- ช่วยเรียกสุนัขไปเสียที
- (สกรรม) ออกชื่อ
- ครูเรียกมาลีให้มาหา
- (สกรรม) เชิญ
- เรียกประชุม
- เรียกหมอ
- เรียกน้ำ
- เรียกลม
- (อกรรม) ให้ชื่อ
- น้ำที่ทำให้แข็งเรียกว่าน้ำแข็ง
- ภาชนะอย่างนี้เรียกว่าถ้วย
- (สกรรม) กำหนดเอา, ร้องเอา
- หมอเรียกค่ารักษาพยาบาล
- โจทก์เรียกค่าเสียหาย
- รัฐบาลเรียกเก็บภาษี
- (ภาษาปาก, สกรรม) ชวนให้มีอาการเช่นนั้น
- เรียกน้ำตา
- เรียกเสียงตบมือ
คำประสม
[แก้ไข]คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/ia̯k̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- คำสกรรมกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำอกรรมกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- อังกฤษ translations