เอา

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

จากภาษาไทดั้งเดิม *ʔawᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩐᩣ (อูา), ภาษาลาว ເອົາ (เอ็า), ภาษาไทลื้อ ᦀᧁ (เอา), ภาษาไทดำ ꪹꪮꪱ (เอา), ภาษาไทใหญ่ ဢဝ် (อว), ภาษาอาหม 𑜒𑜧 (อว์) หรือ 𑜒𑜧𑜈𑜫 (อว์ว์) หรือ 𑜒𑜨𑜧 (ออ̂ว์), ภาษาจ้วง aeu

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์เอา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงao
ราชบัณฑิตยสภาao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔaw˧/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

เอา (คำอาการนาม การเอา)

  1. ยึด
    เอาไว้อยู่
  2. รับไว้
    เขาให้ก็เอา
  3. พา, นำ
    เอาตัวมา
  4. ต้องการ
    ทำเอาชื่อ
    ทำงานเอาหน้า
  5. ถือเป็นสำคัญ
    เจรจาเอาถ้อยคำ
    เอาพี่เอาน้อง
  6. (ภาษาปาก) คำใช้แทนกริยาอื่น ๆ บางคำได้

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

เอา

  1. เมื่อใช้ลงท้ายกริยา เป็นการเน้นกริยาแสดงถึงการตั้งหน้าตั้งตาทำต่อเนื่องกัน
    กินเอา ๆ

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

เอา (คำอาการนาม ก๋ารเอา or ก๋านเอา)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩐᩣ (อูา)

ภาษาชอง[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

จากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *ʔaawʔ

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

เอา

  1. เสื้อ