กัน
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
- (เลิกใช้) กนน
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | กัน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gan |
ราชบัณฑิตยสภา | kan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kan˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
คำสรรพนาม[แก้ไข]
กัน
คำนาม[แก้ไข]
กัน
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *kanᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาปักษ์ใต้ กั๋น, ภาษาอีสาน กัน, ภาษาลาว ກັນ (กัน), ภาษาคำเมือง ᨠᩢ᩠ᨶ (กัน), ภาษาไทลื้อ ᦂᧃ (กัน), ภาษาไทดำ ꪀꪽ (กัน), ภาษาไทขาว ꪀꪽ (กัน), ภาษาไทใหญ่ ၵၼ် (กัน), ภาษาไทใต้คง ᥐᥢ (กัน), ภาษาอาหม 𑜀𑜃𑜫 (กน์), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gaen (nduij gaen-ด้วยกัน)
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
กัน
- คำประกอบท้ายกริยาของผู้กระทำตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปแสดงการกระทำร่วมกัน อย่างเดียวกันหรือต่อกัน
- คิดกัน
- หารือกัน
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
รากศัพท์ 3[แก้ไข]
จากภาษาจีนยุคกลาง 干 (MC kɑn); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກັນ (กัน), ภาษาไทดำ ꪀꪽ (กัน), ภาษาไทใหญ่ ၵၼ် (กัน), ภาษาเขมร កាល់ (กาล̍)
คำกริยา[แก้ไข]
กัน (คำอาการนาม การกัน)
- กีดขวางไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น
- กันฝน, กันสนิม, กันภัย
- แยกไว้ เช่น
- กันเงินไว้ 500 บาทเพื่อจ่ายในสิ่งที่จำเป็น
- กันเอาไว้เป็นพยาน
คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
(1) กีดขวาง
คำนาม[แก้ไข]
กัน
- ชื่อช้างศึกพวกหนึ่งมีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ
- ชื่อเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ทำหน้าที่ถวายอารักขา มีหลายลำ ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง 2 ข้างและกันอยู่ท้ายกระบวนระหว่างเรือของเจ้านายที่ตามเสด็จ
คำพ้องความ[แก้ไข]
คำประสม[แก้ไข]
รากศัพท์ 4[แก้ไข]
จากภาษาเขมร កាល់ (กาล̍, “โกนให้เสมอ”)
คำกริยา[แก้ไข]
กัน (คำอาการนาม การกัน)
ภาษาเขมรเหนือ[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kan/
คำกริยา[แก้ไข]
กัน
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/an
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำสรรพนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาเขมร
- ศัพท์ภาษาเขมรเหนือที่มีการออกเสียง IPA
- คำหลักภาษาเขมรเหนือ
- คำกริยาภาษาเขมรเหนือ