ก่น
หน้าตา
ดูเพิ่ม: กน, กน., กัน, กั่น, กั้น, กั๋น, กิน, กินี, กิ่น, กิ๋น, กึ๋น, กื๋น, กุน, กุ่น, กุ๊น, กูน, กู้น, และ ก้น
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ก่น | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gòn |
ราชบัณฑิตยสภา | kon | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kon˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ก่น
คำประสม
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩫ᩠᩵ᨶ (ก็่น), ภาษาเขิน ᨠᩫ᩠᩵ᨶ (ก็่น), ภาษาลาว ກົ່ນ (ก็่น), ภาษาไทลื้อ ᦷᦂᧃᧈ (โก่น), ภาษาไทใหญ่ ၵူၼ်ႇ (กู่น), ภาษาไทใต้คง ᥐᥨᥢᥱ (โก่น), ภาษาพ่าเก ကုꩫ် (กุน์), ภาษาอาหม 𑜀𑜤𑜃𑜫 (กุน์)
คำกริยา
[แก้ไข]ก่น (คำอาการนาม การก่น)
คำประสม
[แก้ไข]ภาษาญ้อ
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ก่น
- ขุดโค่น, ขุดอย่างถอนรากถอนโคน
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ก่น (คำอาการนาม การก่น)
- ขุดโค่น, ขุดอย่างถอนรากถอนโคน