กุ๊น
หน้าตา
ดูเพิ่ม: กน, กน., กัน, กั่น, กั้น, กั๋น, กิน, กินี, กิ่น, กิ๋น, กึ๋น, กื๋น, กุน, กุ่น, กูน, กู้น, ก่น, และ ก้น
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากแคะ 緄 / 绲 (“เย็บหุ้มริมผ้า”)[1]
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กุ๊น | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gún |
ราชบัณฑิตยสภา | kun | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kun˦˥/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]กุ๊น (คำอาการนาม การกุ๊น)
- ขลิบเย็บหุ้มริมผ้าหรือของอื่น ๆ ใช้แถบผ้าย้วยหรือเฉลียงเย็บหุ้ม 2 ข้างเม้มเข้าเป็นตะเข็บกลมบ้างแบนบ้าง มักใช้ที่คอเสื้อหรือชายเสื้อเป็นต้น