ขุด

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ขด, ขัด, ขิด, ขีด, ขึด, และ ขูด

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC gjut|gjwot)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂຸດ (ขุด), ภาษาไทลื้อ ᦃᦳᧆ (ฃุด), ภาษาไทใหญ่ ၶုတ်း (ขุ๊ต), ภาษาอาหม 𑜁𑜤𑜄𑜫 (ขุต์), ภาษาปู้อี gud, ภาษาจ้วง gud หรือ goed หรือ hud

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ขุด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkùt
ราชบัณฑิตยสภาkhut
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰut̚˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

ขุด (คำอาการนาม การขุด)

  1. กิริยาที่สับ เจาะ แทง หรือ คุ้ยเอาดินหรือสิ่งที่อยู่ในดินขึ้น
    ขุดดิน
    ขุดศพ
  2. อาการที่ขุดดินหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้มีรูปร่างตามที่ต้องการ
    ขุดหลุม
  3. เรียกเรือชนิดที่ทำด้วยไม้ซุงทั้งต้นหรือทั้งท่อนขุดด้านบนให้เป็นรางแล้วเบิกปากออกให้กว้าง ถากหัวและท้ายเรือให้เรียวเชิดขึ้นตามส่วน ว่า เรือขุด
  4. โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น, ขุดคุ้ย หรือ คุ้ยเขี่ย ก็ว่า
    ขุดเรื่องเก่า ๆ ขึ้นมาพูด

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

อ้างอิง[แก้ไข]

  1. Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.