ถือ
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ถ่อ
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เทียบภาษาจีนยุคกลาง 戴 (MC tojH, “แบกไว้บนหัว”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨳᩨ (ถื), ภาษาเขิน ᨳᩨ (ถื), ภาษาลาว ຖື (ถื), ภาษาไทลื้อ ᦏᦹ (ถื), ภาษาจ้วง dawz, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง tw
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ถือ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tʉ̌ʉ |
ราชบัณฑิตยสภา | thue | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰɯː˩˩˦/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ถือ (คำอาการนาม การถือ)
- เอาไว้ในมือ, จับยึดไว้ เช่น ถือมีด ถือปืน ถือหนังสือ
- ทรงไว้, ดำรงไว้
- เอาไว้ในใจ เช่น ถือศีล ถือศักดินา
- ยึดเอาว่า, นับเอาว่า เช่น ถือเป็นญาติกัน ถือเราถือเขา ถือพวก ถือโทษ
- เชื่อมั่นว่าเป็นมงคลหรืออัปมงคล เช่น ถือไม่ให้ใครจับหัว ถือไม่ลอดใต้ถุน
- นับถือ เช่น ถือศาสนา
- เช่า ในคำว่า ถือสวน, เช่าถือสวน