ทรง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า ទ្រង៑ (ทฺรงฺ), ទ្រោង៑ (ทฺโรงฺ), ទ្រង (ทฺรง), ទ្រូង (ทฺรูง); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร ទ្រង់ (ทฺรง̍); ภาษาลาว ຊົງ (ซ็ง)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ซง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | song |
ราชบัณฑิตยสภา | song | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /soŋ˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ทรง
คำกริยา
[แก้ไข]ทรง (คำอาการนาม การทรง)
- ตั้งอยู่ได้
- จำ
- รองรับ
- มี
- คงอยู่
- (ราชาศัพท์) มีความหมายว่า ขี่ หรือ ถือ เป็นต้น ตามเนื้อความของคำที่ตามหลัง
- (ราชาศัพท์) ถ้าประกอบหน้านามบางคำ เช่น ชัย ภพ ศรี ศักดิ์ ธรรม หมายถึง กษัตริย์
- (ราชาศัพท์) ถ้าประกอบหน้านามที่เป็นพาหนะหรืออาวุธเป็นต้นของพระเป็นเจ้า หมายถึง พระเป็นเจ้านั้น ๆ
- (ราชาศัพท์) ใช้นำหน้าคำกริยาสามัญให้เป็นราชาศัพท์
- (ราชาศัพท์) ใช้นำหน้าคำนามราชาศัพท์ให้เป็นกริยาราชาศัพท์ ในลักษณะนี้จะหมายความว่า มี ก็ได้, เมื่อกริยาเป็นราชาศัพท์อยู่แล้ว ไม่นิยมใช้คำว่า ทรง นำหน้าซ้อนลงไปอีก
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ทรง