ม้า
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข] เคยเสนอใน “รู้ไหมว่า”
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ม้า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | máa |
ราชบัณฑิตยสภา | ma | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /maː˦˥/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *maːꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง 馬 (MC maeX); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨾ᩶ᩣ (ม้า), ภาษาเขิน ᨾ᩶ᩣ (ม้า), ภาษาลาว ມ້າ (ม้า), ภาษาไทลื้อ ᦙᦱᧉ (ม้า), ภาษาไทดำ ꪣ꫁ꪱ (ม้า), ภาษาไทขาว ꪝꪱꫂ, ภาษาไทใหญ่ မႃႉ (ม๎า), ภาษาไทใต้คง ᥛᥣᥳ (ม๎า), ภาษาอ่ายตน မႃ (มา), ภาษาพ่าเก မႃ (มา), ภาษาอาหม 𑜉𑜠 (มะ), 𑜉𑜡 (มา) หรือ 𑜉𑜡𑜠 (มาะ), ภาษาจ้วง max; เทียบภาษาเบดั้งเดิม *maʔᴰ²; ร่วมรากกับ เบ๊
คำนาม
[แก้ไข]ม้า
- ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Equus caballus (Linn.) ในวงศ์ Equidae มีกีบเดี่ยว รูปร่างสูงใหญ่ขายาว หางเป็นพู่ มีขนแผงคอยาววิ่งได้เร็ว ใช้เป็นพาหนะขับขี่และเทียมรถ (คำลักษณนาม ตัว หรือ ม้า)
- (ปู~) ชื่อปูทะเลหลายชนิดในสกุล Portunus วงศ์ Portunidae ผิวกระดองมีลักษณะเป็นตุ่มเล็ก ๆ สาก กระดองตัวผู้สีฟ้าหรือน้ำเงิน ของตัวเมียสีค่อนไปทางน้ำตาล เช่น ชนิด P. pelagicus (Linn.) (คำลักษณนาม ตัว)
- (ปลา~) ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Boesemania microlepis (Bleeker) ในวงศ์ Sciaenidae ลำตัวกว้างมากในแนวอกและท้อง แล้วเรียวเล็กลงมากที่คอดหาง ก้านครีบแข็งก้านที่ 2 ของครีบก้นใหญ่มาก ครีบหางมีปลายแหลมครีบท้องมีปลายเป็นเส้นสั้น ๆ เกล็ดในแนวเส้นข้างตัวเด่นชัดเจนและเรียงต่อเลยไปจนสุดปลายของครีบหางลำตัวและหัวมีสีเงินหรือเทาอ่อน ด้านหลังมีลายสีเทาเอียงอยู่ตามแถวของเกล็ด พบทุกลุ่มน้ำ ขนาดยาวได้ถึง 90 เซนติเมตร, เขตลุ่มแม่น้ำโขงเรียก กวาง เขตลุ่มแม่น้ำบางปะกงเรียก หางกิ่ว (คำลักษณนาม ตัว)
- เครื่องรองนั่งและรองสิ่งของมีขาเป็นรูปต่าง ๆ (คำลักษณนาม ตัว)
- เรียกตัวหมากรุกที่แกะเป็นรูปม้า (คำลักษณนาม ตัว)
- (ภาษาปาก) คำตัดทอนของ หน้าม้า (“ทรงผมทรงหนึ่ง”)
- (ภาษาปาก) คำตัดทอนของ หน้าม้า (“ผู้ที่ทำเล่ห์เหลี่ยม”) (คำลักษณนาม คน)
- (ภาษาปาก) คำตัดทอนของ ยาม้า (คำลักษณนาม เม็ด)
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:ม้า
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Equus caballus
|
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]ม้า
- ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อัศวินีมี 7 ดวง, ดาวคอม้า ดาวคู่ม้า ดาวอัศวยุช หรือดาวอัสสนี ก็เรียก
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]แผลงมาจาก ไหม
คำอนุภาค
[แก้ไข]ม้า
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]เป็นไปได้ว่ายืมมาจากภาษาฮกเกี้ยน 媽/妈 (má, “แม่”)
คำนาม
[แก้ไข]ม้า
ภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (อมก๋อย) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /mâ/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: ม่า
คำนาม
[แก้ไข]ม้า
- หลาน (ลูกของพี่หรือลูกของน้อง)
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /maː˦˥/
คำนาม
[แก้ไข]ม้า (คำลักษณนาม ตั๋ว)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ที่เคยเสนอในรู้ไหมว่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่ร่วมราก
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่ใช้ชื่ออนุกรมวิธาน (species)
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ม้า
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- คำตัดทอนภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม คน
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม เม็ด
- จีนกลาง terms with non-redundant manual transliterations
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาญี่ปุ่น/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาโปรตุเกส/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาฝรั่งเศส/t+
- ฟินิเชีย terms with redundant script codes
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเวียดนาม/t+
- อังกฤษ translations
- ฮีบรู terms with non-redundant manual transliterations
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- คำอนุภาคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาเด็ก
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาฮกเกี้ยน
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาฮกเกี้ยน
- th:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
- th:สิ่งเสพติด
- th:เก้าอี้
- th:ปลา
- th:ปู
- th:ครอบครัว
- th:ยศฐาบรรดาศักดิ์และชื่อเรียก
- th:เพศหญิง
- ศัพท์ภาษากะเหรี่ยงโปเหนือที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ
- คำนามภาษากะเหรี่ยงโปเหนือ
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำนามภาษาคำเมืองที่ใช้คำลักษณนาม ตั๋ว
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/m
- nod:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม