มา
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | มา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | maa |
ราชบัณฑิตยสภา | ma | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /maː˧/(ส) | |
คำพ้องเสียง | มาห์ |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
จากภาษาบาลี มา; เทียบภาษาสันสกฤต मास् (มาสฺ)
คำนาม[แก้ไข]
มา
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰmaːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨾᩣ (มา), ภาษาลาว ມາ (มา), ภาษาไทลื้อ ᦙᦱ (มา), ภาษาไทใต้คง ᥛᥣᥰ (ม๊า), ภาษาไทใหญ่ မႃး (ม๊า), ภาษาไทดำ ꪣꪱ (มา), ภาษาอาหม 𑜉𑜠 (มะ) หรือ 𑜉𑜡 (มา) หรือ 𑜉𑜡𑜠 (มาะ), ภาษาจ้วง maz
คำกริยา[แก้ไข]
มา (คำอาการนาม การมา)
- เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด
- มานี่มาหาฉันหน่อย
- เขาบอกว่าจะมาแล้วไม่มา
- ใช้ในการเขียนจดหมายทางการ ใช้แสดงทิศทางสู่ตัวผู้ที่เขียนถึง
- พรุ่งนี้ผมจะมาหาคุณ
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
มา
- เป็นคำประกอบกริยาแสดงทิศทางเข้าหาตัวผู้พูด
- หันมาทางนี้
- เอามานี่
- เป็นคำประกอบกริยาแสดงอาการที่ต่อเนื่องเรื่อยมาถึงปัจจุบัน
- ความเป็นมา
- อยู่มาวันหนึ่ง
- ส่งหนังสือบอกข่าวมา
คำตรงข้าม[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
ภาษาบาลี[แก้ไข]
รูปแบบอื่น[แก้ไข]
เขียนด้วยอักษรอื่น
คำอนุภาค[แก้ไข]
มา
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
มา
- อย่า
คำนาม[แก้ไข]
มา ญ.
การผันรูป[แก้ไข]
ตารางการผันรูปของ "มา" (เพศหญิง)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ภาษาไทย:ยืมจากภาษาบาลี
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาบาลี
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ไทย terms with redundant head parameter
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ภาษาไทย:สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- คำหลักภาษาบาลี
- คำอนุภาคภาษาบาลี
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย