ชื่อ
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɟɤːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 字 (MC d͡zɨH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาปักษ์ใต้ ฉือ, ภาษาอีสาน ซื่อ, ภาษาลาว ຊື່ (ซื่), ภาษาคำเมือง ᨩᩨ᩵ (ชื่), ภาษาไทลื้อ ᦋᦹᧈ (ชื่), ภาษาไทดำ ꪋꪳ꪿ (จึ่̱), ภาษาไทใหญ่ ၸိုဝ်ႈ (จึ้ว), ภาษาอาหม 𑜋𑜢𑜤𑜈𑜫 (ฉึว์) หรือ 𑜋𑜥 (ฉู), ภาษาจ้วงใต้ cwh (ซื่อ)
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ชื่อ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chʉ̂ʉ |
ราชบัณฑิตยสภา | chue | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰɯː˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม[แก้ไข]
ชื่อ
- คำที่ตั้งขึ้นสำหรับเรียกคน สัตว์ สถานที่ และสิ่งของโดยทั่ว ๆ ไปหรือโดยเฉพาะเจาะจง
- เกียรติยศ
- มีชื่อ
- เสียชื่อ
คำสืบทอด[แก้ไข]
- → ญัฮกุร: จือ่
คำประสม[แก้ไข]
คำพ้องความ[แก้ไข]
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
คำที่ใช้เรียกสิ่งต่าง ๆ ทั่วไปหรือเฉพาะ
|
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ภาษาไทย terms with redundant head parameter
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทย/l
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเขมร/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาพม่า/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสันสกฤต/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/t