ภาษา
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) ภาสา
รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากสันสกฤต भाषा (ภาษา); เทียบบาลี ภาสา
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | พา-สา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | paa-sǎa |
ราชบัณฑิตยสภา | pha-sa | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰaː˧.saː˩˩˦/(สัมผัส) | |
ไฟล์เสียง |
คำนาม
[แก้ไข]ภาษา (คำลักษณนาม ภาษา)
- ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ
- ภาษาไทย
- ภาษาจีน
- ภาษาราชการ
- ภาษากฎหมาย
- ภาษาธรรม
- เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้
- ภาษาพูด
- ภาษาเขียน
- ภาษาท่าทาง
- ภาษามือ
- (โบราณ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ
- มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา(พงศ. ร. 3)
- (การคอมพิวเตอร์) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์
- ภาษาซี
- ภาษาจาวา
- โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน
- ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา
- เขียนไม่เป็นภาษา
- ทำงานไม่เป็นภาษา
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
|
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีลิงก์เสียง
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำลักษณนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ภาษา
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- th:การคอมพิวเตอร์
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาจีนกลาง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาญี่ปุ่น
- หน้าที่มีคำแปลภาษาดัตช์
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทดำ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาโปรตุเกส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีคำแปลภาษารัสเซีย
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสเปน
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอาหรับ
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอิตาลี
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฮินดี