ชน
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨩᩫ᩠ᨶ (ช็น), ภาษาลาว ຊົນ (ซ็น); เทียบภาษาเขมร ជល់ (ชล̍), ภาษาจีนยุคกลาง 衝 (MC tsyhowng), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง cwnj (เฉิ้น, “พุ่งเขาไปชนอย่างแรง”)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chon |
ราชบัณฑิตยสภา | chon | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰon˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ชนม์ ชล |
คำกริยา
[แก้ไข]ชน (คำอาการนาม การชน)
- โดนแรง ๆ
- รถยนต์ชนต้นไม้
- ชิดจนติด
- ตั้งตู้ชนฝา
- บรรจบ
- ชนขวบ
- ให้ต่อสู้กัน (ใช้กับสัตว์บางชนิด)
- ชนโค
- ชนไก่
คำนาม
[แก้ไข]ชน
คำประสม
[แก้ไข]รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต जन (ชน, “คน”) หรือภาษาบาลี ชน (“คน”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊົນ (ซ็น)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {เสียงพยัญชนะซ้ำ} | ชน | [เสียงสมาส] ชน-นะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chon | chon-ná- |
ราชบัณฑิตยสภา | chon | chon-na- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰon˧/(สัมผัส) | /t͡ɕʰon˧.na˦˥./ | |
คำพ้องเสียง | ชนม์ ชล |
คำนาม
[แก้ไข]ชน
คำประสม
[แก้ไข]รากศัพท์ 3
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ชอ-นอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | chɔɔ-nɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | cho-no | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕʰɔː˧.nɔː˧/(สัมผัส) |
คำวิสามานยนาม
[แก้ไข]ชน
- อักษรย่อของ ชัยนาท
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]ชน ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "ชน" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | ชโน | ชนา |
กรรมการก (ทุติยา) | ชนํ | ชเน |
กรณการก (ตติยา) | ชเนน | ชเนหิ หรือ ชเนภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | ชนสฺส หรือ ชนาย หรือ ชนตฺถํ | ชนานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | ชนสฺมา หรือ ชนมฺหา หรือ ชนา | ชเนหิ หรือ ชเนภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | ชนสฺส | ชนานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | ชนสฺมิํ หรือ ชนมฺหิ หรือ ชเน | ชเนสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | ชน | ชนา |
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/on
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- อุปสรรคภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาหนังสือ
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɔː
- คำวิสามานยนามภาษาไทย
- อักษรย่อภาษาไทย
- th:จังหวัดในไทย
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย